เว็บรวบรวมงานวิจัย

1

ร่วมพูดคุย

2

ร่วมแลกเปลี่ยน

3

ร่วมเรียนรู้

4

ร่วมเดินไปด้วยกัน

บทความวิจัย

ลัทธกาญจน์ กุยแก้ว และพนิดา พานิชกุล. (2566). ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์หอมแดงศรีสะเกษเกรดพรีเมี่ยมเพื่อเพิ่มโอกาสทางการตลาดในจังหวัดศรีสะเกษ. วารสารการบัญชีและการจัดการ คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 15(3), 34-50.

2023

View →

Lattagarn Kuikaew, & Panida Panichkul. (2022). Knowledge Management and Web Application Development of Ethnic Clothing in Sisaket, Thailand. Jornal of Mekong Societies, 18(3), 135-158.


2022

View →

ลัทธกาญจน์ กุยแก้ว  และพนิดา พานิชกุล. (2563). ระบบออกแบบเสื้อแซวสําหรับวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้าของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มทอผ้าบ้านเมืองหลวง อําเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารวิชาการคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. 15(1), 26-38. ISSN: 1905-8446(online).

2020

View →

Sisaket

ศรีสะเกษ

Unseen

ศรีสะเกษ

เมืองแห่งมนต์ขลัง เมืองแห่งวัฒนธรรม ชาติพันธุ์ 4 เผ่าไทย

เขมร ส่วย ลาว เยอ

เขมร

View →

ส่วย

View →

ลาว

View →

เยอ

View →

หอมแดงศรีสะเกษ

แดนปราสาทขอม หอมกระเทียมดี มีสวนสมเด็จ

เขตดงลำดวน หลากล้วนวัฒธรรม เลิศล้ำสามัคคี

เสื้อแซวศรีสะเกษ

การทำเสื้อแซวประกอบด้วยหลายขั้นตอน โดยหากไม่นับรวมการเลี้ยงหนอนไหมจนกระทั่งได้เป็นเส้นไหมมา จะเริ่มจากการนำเส้นไหมที่ได้มาทอเป็นผืน โดยจะทอเป็นลายลูกแก้ว จากนั้นนำผ้าไหมที่ทอเสร็จแล้วไปย้อมมะเกลือเพื่อทำให้เป็นสีดำ การย้อมมะเกลือ จะต้องนำมะเกลือมาต้ม แล้วนำผ้าไหมลงไปแช่ในน้ำมะเกลือ โดยการจุ่มย้อมในน้ำมะเกลือจำนวน 300 ครั้ง จึงนำออกมาหมักโคลนเพื่อให้สีมะเกลือติดทนและขึ้นเงา หลังจากหมักเสร็จแล้วจะนำไปตากแดดไว้ 60 แดด หรือประมาณ 60 วัน จึงสามารถนำมาตัดตามแบบเสื้อ